นครราชสีมา : คําขวัญ เมืองหญิงกล้า ผ้าไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดินด่านเกวียน ต้นไม้ประจำจังหวัด : สาธร

เลือกภาษา

พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน

พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน
พระผู้ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดิน

ส.ค.ส. พระราชทาน ประจำปี ๒๕๕๖

Long live the King of Thailand

ในหลวงเสด็จทุ่งมะขามหย่อง อยุธยา

การแสดงชุดหลั่งเลือดทาบทา ปกปักษ์รักษาแผ่นดิน ณ ทุ่งมะขามหย่อง

วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2555

ประวัติส่วนตัว l คู่สมรส นางพนิดา เทพกาญจนา (วัธนเวคิน) ตำแหน่งปัจจุบัน l รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2555 ประวัติการศึกษา l นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ l Master of Comparative Law (Foreign Practice), George Washington University สหรัฐอเมริกา l เนติบัณฑิตไทย สำนักศึกษาอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา l Master of Comparative Law (American Practice), George Washington University สหรัฐอเมริกา ประวัติการรับราชการ l ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจำกระทรวง l รอง​เลขาธิการส่ง​เสริมงานตุลา​การ l ผู้พิพากษาศาลจังหวัดสกลนคร ประวัติการทำงาน ทางการเมือง l รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม l รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน l รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี l สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร l รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย l สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จังหวัดสมุทรสาคร (พ.ศ.2539 - พ.ศ.2540) l รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (พ.ศ.2538 - พ.ศ.2539) เครื่องราชอิสริยาภรณ์ l มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก l มหาวชิรมงกุฎ l จตุตถดิเรกคุณาภร อ้างอิงจาก http://www.moe.go.th/websm/minister/phongthep.htm

ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21

ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21
ในฐานะผู้คลั่งไคล้หนังสือ “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21” เล่มนี้ สื่อสาระสำคัญยิ่งของการศึกษายุคใหม่ ที่แตกต่างไปจากแนวคิดเดิมๆ โดยสิ้นเชิง นักการศึกษา ครู พ่อแม่ผู้ปกครอง นักเรียน และผู้สนใจคุณภาพของการศึกษาทุกคนควรได้อ่านหนังสือเล่มนี้ เพื่อจะได้ช่วยกันขับเคลื่อนการศึกษาไทยออกไปจากความเชื่อหรือวิธีคิดเก่าๆ ให้การเรียนรู้ในสังคมไทยบรรลุการเรียนรู้ทักษะสำหรับมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ให้จงได้ ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช ประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) และรองประธานกรรมการมูลนิธิสยามกัมมาจล การปฏิรูปการศึกษาที่แท้ควรปฏิรูปกระบวนทัศน์ด้วย ภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่นี้ “กระบวนการเรียนรู้สำคัญกว่าความรู้” และ “ครูมิใช่ผู้มอบความรู้” แต่เป็น “ผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ไปพร้อมกับเด็กและเยาวชน” เป้าหมายของการเรียนรู้มิใช่ตัวความรู้อีกต่อไป เพราะตัวความรู้นั้นมีมายมายมหาศาลเกินกว่าที่จะมอบให้นักเรียนแต่ละชั้นปีได้ อีกทั้งนักเรียนในศตวรรษใหม่มีหนทางค้นหาความรู้ด้วยตนเองจากทุกหนแห่งทั้งในสิ่งแวดล้อมและอินเทอร์เน็ต หากการศึกษาไทยยังย่ำอยู่กับกระบวนทัศน์เดิม คือมอบความรู้เป็นรายวิชาก็จะไม่ทันสถานการณ์โลก ที่ควรทำคือมีกระบวนทัศน์ใหม่ที่จะพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต เด็กและเยาวชนจะเรียนรู้อะไรบ้างขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละคน แต่ที่ทุกคนควรมีคือความสามารถในการเรียนรู้ตลอดเวลา ตลอดชีวิตและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เลขาธิการมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ อ้างอิงจาก http://openworlds.in.th/books/21st-century-skills/